Category: PHOTO ESSAY

PHOTO ESSAY : EQUILIBRIUM


TEXT & PHOTO: WEERAPON SINGNOI

(Scroll down for English)

ภาพชุด “Equilibrium” เกิดจากการติดตามเฝ้าดูต้นไม้ต้นหนึ่งที่ยืนต้นจมน้ำที่เขื่อนศรีนครินทร์ เป็นเวลา 7 ปี 

กาลเวลาได้ทำรั้งเอากิ่งก้านที่เคยมีแตกหักเสียหาย แต่สิ่งที่เปลี่ยนแปลงในใจของช่างภาพกลับเป็นความสงบมากขึ้นเมื่อได้เผชิญหน้าต้นไม้ต้นเดิมอีกครั้ง ธรรมชาติกำลังบอกเราถึงความอจีรัง

ช่างภาพสถาปัตยกรรม เบียร์วีระพล สิงห์น้อย ผู้สำรวจตึกเก่ายุคโมเดิร์นในเพจ foto_momo พยายามหมั่นสังเกตต้นไม้ใหญ่ที่มีรูปทรงประหลาด หรือสภาพแวดล้อมที่ผิดธรรมดา และบันทึกภาพที่ว่างใต้ต้นไม้นั้นไว้

The birth of  “Equilibrium” photo essay came from the photographer’s 7-year-long observation of a tree standing in the flooded land of Srinakarin dam.

The passing of time gradually deteriorates the tree’s once leafy stems. But what changes in the mind of the photographer after another encounter with the tree is a greater sense of tranquility. 

Nature is telling us about the ephemeral existence of things.

Architectural photographer, Weerapon Singnoi of facebook page  foto_momo and  the explorer of old Modernist buildings tirelessly searches and observes large timbers with bizarre figures and unusual surroundings, and recorded are the empty spaces underneath those trees.

beersingnoi.com

PHOTO ESSAY : OBSCURE

 

TEXT & PHOTO: PITI AMRARANGA

(For English please scroll down.)

Obscure รวมรูปคนไร้ใบหน้า ตลอดช่วงเวลาสามปีที่ฝึกถ่ายภาพของ ปิติ อัมระรงค์ นักออกแบบอิสระจาก o-d-a

การปิดบังบางส่วนของซับเจคในภาพเอาไว้ยังเป็นมุกที่สร้างความน่าสนใจได้ดีอยู่เสมอหลายคนก็คงเห็นด้วย เชื่อว่าคนถ่ายรูปสตรีททุกคนต้องมีอัลบั้มทำนองนี้เป็นของตัวเองอยู่อย่างแน่นอน มากบ้างน้อยบ้างตามนิสัย รายละเอียดอาจแตกต่างกันไปตามลีลา เป็นท่าไม้ตายสากลที่ใช้กันได้ต่อไปไม่เกี่ยวกับเงื่อนไขของเวลา ด้วยสัจธรรมที่ว่า “ของบางอย่างปกปิดไว้จึงจะงดงาม

Obscure – people without faces, a photo set collected over 3 years of practicing photography by Piti Amraranga, an independent designer of o-d-a.

Removing the subject’s face is a technique that provokes the sense of surprise and is quite popular amongst street photographers. I am quite sure that photographers must have at least one collection of faceless people that were taken in their own style, perspective and point of view. It is a kind of a universal topic that I believe will last forever as per this quote “to enchant something is to partially hide it from seeing”

instagram.com/piti_dui_photo 

PHOTO ESSAY : YONDER

 

PHOTO: KETSIREE WONGWAN

SELECTION: KETSIREE WONGWAN AND KANOKWAN TRAKULYINGCHAROEN

TEXT: KANOKWAN TRAKULYINGCHAROEN 

(For English please scroll down.)

‘Yonder (ตรงนั้นน่ะ)’ มุมมองถึงบริบทรอบงานสถาปัตยกรรม เป็นความคิดที่เกิดขึ้นเบื้องหลังการถ่ายภาพ ของ เกตน์สิรี วงศ์วาร ช่างภาพสถาปัตยกรรมของ art4d 

ภาพเซตนี้แยกออกเป็นสามสถานการณ์ในบริบทต่างกัน  เซตแรก ‘กรุงเทพฯ-ชานเมือง-ต่างจังหวัด’ เซตสอง  ‘พ่อ-แม่-ลูก’ บริบทชีวิตของคนสองรุ่น ในรั้วความเป็นครอบครัวเดียวกัน และเซตสุดท้าย ‘คนที่เข้ามาแทรกตัว’ คนใหม่ในบริบทเก่า กับจินตนาการถึงบริบทเก่าที่จะกลายเป็นบริบทใหม่ในอนาคตอันใกล้

“Yonder” conveys a viewpoint of meaningful context surrounding architecture. It is an idea generated behind the photo shoot of Ketsiree Wongwan, art4d architectural photographer. 

The photo essay represents three contrast situations in different contexts. The first set is titled   ‘Bangkok-Periphery-Khon Kaen,’ a simple sequence of the similar angles of view in different places. The second “Mom-Dad-Kid” reflects the living of two different generations in the same fence of an extended family. The last titled ‘Intervenor’ brings you to a life of newcomers in an old context and, at the same time, to imagine when the old context would turn into a new context in the near future.