85 Social Dwellings in Cornellà โดย Peris+Toral.acquitectes ในกรุง Barcelona นี้ส่งผ่านคุณภาพชีวิตที่ดีให้แก่ผู้อยู่อาศัยด้วยขนาดห้องที่เพียงพอต่อการใช้ชีวิต อากาศที่ถ่ายเทพร้อมทั้งพื้นที่โล่งและพื้นที่สีเขียว และที่สำคัญคือชวนให้เราคิดว่าอนาคตของ public hosing นั้นควรจะเป็นอย่างไร
หมวดหมู่: ARCHITECTURE
FOLLY IN THE FOREST
ถึง Folly in the Forest โดย Bangkok Tokyo Architecture (BTA) จะดูเรียบง่ายและกลืนไปกับบริบทรอบข้างหาก แต่อาคารนี้กลับซ่อมความกำกวมขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมและวิธีการใช้งาน ที่เปิดโอกาสผู้ใช้งานได้ตีความอาคารออกมาด้วยตัวเอง
BAKSTERS OFFICE
MUN Architect ใช้ประโยชน์จาก ‘ที่ว่าง’ เพื่อสร้างบรรยากาศผ่อนคลายให้กับพนักงานในออฟฟิศของบริษัท IT อย่าง Baksters ทั้งยังสอดแทรกความรู้สึกสนุกสนานลงไปในพื้นที่อันเต็มไปด้วยเส้นสายอันโฉบเฉี่ยวอย่างแนบเนียน
BAAN AKAT YEN
ในย่านใจกลางเมืองอย่างซอยเย็นอากาศ ‘บ้านอากาศเย็น’ คือบ้านจาก Studio Krubka ที่สร้างบทสนทนาระหว่างความเป็นส่วนตัว และส่วนรวม ด้วยการปกปิดตัวอยู่หลังรั้วสูง และห่อหุ้มตัวด้วยเปลือกคอนกรีตแน่นหนา ขณะเดียวกันก็เปิดอาคารโอบล้อมคอร์ท และเจาะช่องโล่งรับธรรมชาติภายใน
JIM THOMPSON ART CENTER
มารู้จักกับอาคารหลังใหม่ของ ‘หอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน’ ที่ออกแบบโดย design qua ซึ่งเชื่อมโยงตัวตนในอดีตและปัจจุบันของหอศิลป์ พร้อมต้อนรับผู้คนด้วยท่าทีอันเป็นมิตร
DUSIT RESIDENCES / PART2: ARCHITECTURE
ต่อเนื่องจากในบทความ Dusit Residences / Part 1 ที่บอกเล่าถึงเนื้อการออกแบบภายในของโครงการ Dusit Residences กันไปแล้ว คราวนี้ลองไปพิจารณากันการออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมที่ได้ทีมสถาปนิกอย่าง A49 และ OMA มาร่วมกันถ่ายทอดความเป็นสากลและความเป็นไทยอันเป็นเอกลักษณ์ของโรงแรมดุสิตธานี กรุงเทพ
PERCEPTION OF EMPTINESS
กุลธิดา ทรงกิตติภักดี จาก HAS design and research มองความว่างเปล่าที่ปรากฏบนวัตถุและพื้นที่ในสถาปัตยกรรม ในฐานะเครื่องมือเพื่อสร้างการรับรู้ที่ไร้ขอบเขต น่าค้นหา และเป็นอนันต์
DIÊN KHANH HOUSE
Diên Khanh House โดย 6717 Studio แสดงให้เห็นถึงวิธีการจัดการกับพื้นที่สีเขียวและแสงธรรมชาติในอาคารแบบ ‘Tube House’ อาคารที่มีพื้นที่จำกัดซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปในประเทศเวียดนาม
ARRHOV FRICK: REORIENTATION
ต้นข้าว ปาณินท์ พาไปรู้จักกับ Arrhov Frick ออฟฟิศสถาปนิกจากสวีเดนที่สลัดวาทกรรมว่าด้วย ‘การสร้างความงาม’ ผ่านการทำงานอย่างตรงไปตรงมาตามตรรกะของโครงสร้างในงานสถาปัตยกรรม
YARINDA BUNNAG
หลังจากคุ้นเคยกันดีกับญารินดา บุนนาคในบทบาทศิลปิน และนักแสดง ไปรู้จักกับบทบาทของเธอในพื้นที่ของงานสถาปัตยกรรม ทั้งการเป็นอาจารย์ สถาปนิก และผู้ร่วมก่อตั้งสตูดิโอ ‘Imaginary Objects’