บ้านที่เปลี่ยนให้ต้นไม้กลายเป็นส่วนหนึ่งของบ้านเพื่อตอบคำถามว่า ‘สถาปัตยกรรมจะอยู่ร่วมกับธรรมชาติในบริบทเดิมได้อย่างไร’
หมวดหมู่: ARCHITECTURE
KULTHIDA SONGKITTIPAKDEE
art4d พูดคุยกับกุลธิดา ทรงกิตติภักดีถึงเรื่องราวเส้นทางชีวิตตั้งแต่การเป็นสถาปนิกคนเดียวจากทั้งโลกที่ได้รับคัดเลือกให้ร่วมโปรแกรมฝึกงานของ Renzo Piano Building Workshop และความท้าทายล่าสุดอย่างการเปิดออฟฟิศของตัวเองในประเทศไทยในชื่อ HAS design and research
NIEMEYER PAVILION AT CHÂTEAU LA COSTE
‘เส้นโค้ง’ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ในผลงานทุกชิ้นของ Oscar Niemeyer ไม่เว้นแม้แต่ผลงานชิ้นนี้ที่เป็นผลงานชิ้นสุดท้ายของเขา ลองดูแนวคิดเบื้องหลัง Pavilion ที่สะท้อนแนวคิดการใช้เส้นโค้ง ซึ่งเป็นหนึ่งในแนวคิดของ Niemeyer ที่ทรงอิทธิพลในประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม
JINYUN QUARRIES
DnA_Design and Architecture ชุบชีวิตเหมืองหินรกร้าง 9 แห่งในอำเภอจินหยุน มณฑลเจ้อเจียงของประเทศจีนให้กลายเป็นพื้นที่ทางวัฒนธรรมผ่านการปรับแต่งและสอดแทรกพื้นที่เดิมมากว่าสร้างอาคารขึ้นใหม่ทั้งนี้ก็เพื่อให้สถาปัตยกรรมได้บอกเล่าประวัติศาสตร์ในท้องที่อย่างการขุดหินด้วยมือด้วยตัวมันเอง
PINGTAN BOOK HOUSE
นอกเหนือจากการเป็นห้องสมุดเพื่อให้เด็กๆ ได้เรียนรู้และเปิดโลกกว้างไปกับหนังสือแล้ว ห้องสมุดที่ออกแบบโดย Condition_Lab และ UAL Studio แห่งนี้ยังช่วยให้เด็กๆ ได้ซึมซับกับรูปแบบสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นที่ดูสุ่มเสี่ยงจะสูญหายไปในทุกๆ วันอีกด้วย
TAINAN PUBLIC LIBRARY
ห้องสมุดในไต้หวันทั่วๆ ไปได้ชื่อว่าเป็น land of silent ชนิดที่เสียงพิมพ์คีย์บอร์ดหรือคลิกเมาส์อาจจะรบกวนคนข้างๆ ได้ อย่างไรก็ดี Tainan Public Library ห้องสมุดแห่งใหม่ออกแบบโดย Mecanoo และ MAYU Architects ในเขต Yongkang ดูจะเป็นห้องสมุดที่มีบรรยากาศผ่อนคลายกว่าที่อื่นๆ และไม่รู้สึกผิดบาปนักที่จะใช้เสียงพูดคุย
WITH OR WITHOUT GLASS
วรา จิตรประทักษ์ จาก Plan Architect พาเรามองการใช้กระจกให้เต็มประสิทธิภาพที่มากกว่าแค่เรื่องความสวยงามผิวเผิน และบอกเล่าถึงการใช้วัสดุนี้อย่างที่ควรจะเป็นในสถาปัตยกรรมแบบร้อนชื้นของประเทศไทย
RADICAL ROOM: POWER OF THE PLAN
RIBA (Royal Institute of British Architects) เสนอนิทรรศการที่ชวนเราค้นหาความหมายที่ซ่อนอยู่ในแปลนของอาคารผ่านการสำรวจ ‘บ้าน’ ในหลายช่วงเวลาในประเทศอังกฤษ และพาเราขุดลึกไปยังอิทธิพลของผู้หญิงต่อการพัฒนาสถาปัตยกรรม
CENTRAL CHANTHABURI
เซ็นทรัลจันทบุรี โครงการมิกซ์ยูสที่ใหญ่ที่สุดแห่งใหม่ในภาคตะวันออกที่ได้รับการออกแบบโดยความร่วมมือของ M.A.A.R, PHTAA และ Landscape Collaboration ที่หยิบเอาความหลากหลายทางธรรมชาติและวิถีชีวิตของชาวเมืองจันท์มาถ่ายทอดในรูปแบบของสถาปัตยกรรมแบบไทยร่วมภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘Charming Chanthaburi’
FROM INFRA-STRUCTURE TO INFRA-RCHITECTURE
คอลั่มน์ VIEWS โดย กุลธิดา ทรงกิตติภักดี และ Jenchieh Hung ครั้งนี้พาเราไปสำรวจอาคารสาธารณูปโภคของสตูดิโอ NODE Architecture & Urbanism ที่ตั้งคำถามว่า ‘สถาปัตยกรรมจะสามารถขับเคลื่อนเมืองได้อย่างไร?’