THE ARCHITECTURAL DESIGN STUDIO HYPOTHESIS MATERIALIZES THE OWNER’S ARTISTIC PASSION AND THE IDENTITY OF THIS STATIONERY AND ART SUPPLIES STORE IN EKAMAI, BY REALIZING THE STORE AS THE ‘BLANK CANVAS’ WAITING FOR ALL ART LOVERS TO FULFILL
ป้ายกำกับ: bangkok
PITI BOON INTERIOR DESIGN STUDIO
PHOTO ESSAY : BANGKOK URBAN STORIES
TEXT & PHOTO: HIROTARO SONO
(For English, press here)
ผมมักพยายามมองหาเรื่องราว เวลาที่ผมเดินผ่านพื้นที่ต่างๆ ในเมืองอยู่เสมอ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่มุมที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่และผู้คน
“ทำไมพื้นที่นี้ถึงดูน่าสบายจัง?” “อะไรคือองค์ประกอบที่ทำให้บรรยากาศของพื้นที่เป็นแบบนี้กันนะ?”
พื้นที่เมืองถูกสร้างขึ้นโดยมนุษย์ มันจึงเต็มไปด้วยความคิดของผู้คนหลากหลาย
และปริมาณที่มากมายของความคิดนั้นก็เป็นเรื่องยากที่จะทำความเข้าใจในทันทีทันใด
ดังนั้นแล้ว หากเราต้องการที่จะรู้สึกสนุกไปกับการเดินเล่นภายในเมือง เราต้องตั้งใจมองหาและจับความคิดและเรื่องราวอันแตกต่างกันไปของพื้นที่เมือง
ผมถ่ายภาพเวลาที่ผมสังเกตเห็นเรื่องราวบางอย่าง
เพื่อเป็นแรงบันดาลใจการออกแบบสถาปัตยกรรม
เพื่อความสุขของตัวผมเองที่จะได้ร่วมแบ่งปันมันกับผู้อื่น
นี่คือมุมมองของผม
และนี่ก็คือกรุงเทพฯ ของผม
_____________
Hirotaro Sono (Hiro) คือช่างภาพชาวญี่ปุ่นที่จับภาพและแบ่งปันอารมณ์ของพื้นที่และผู้คน เขายังเป็นสถาปนิกที่ออกแบบความรู้สึกของพื้นที่และผู้คนด้วยเช่นกัน
THE WATER PARLIAMENT – BANGKOK CITY 2100
TYLER LIM, A SINGAPOREAN STUDENT AT THE NATIONAL UNIVERSITY OF SINGAPORE, IMAGINES HOW THE FUTURE BANGKOKIANS WILL LIVE TOGETHER WITH THE FLOOD IN HIS M.ARCH THESIS
JANTHAIS.STUDIO
IMAGE: JANTHAIS.STUDIO
(For English, press here)
WHO
janthais.studio ที่มาจากชื่อของตัวเอง และคือคนที่เรียนจบจากคณะจิตรกรรมมาและได้สนใจในกราฟิกดีไซน์และสถาปัตยกรรม
WHAT
การเห็นคุณค่าในรายละเอียดของความเรียบง่าย เช่น จะเป็นสถาปัตยกรรมหรือวัตถุต่างๆ โดยนำมา สร้างสรรค์ให้เกิดพื้นที่ใหม่ที่น่าสนใจ
AURUM GALLERY
AFTER WAREHOUSE 30 HAS STAYED QUIET FOR A WHILE, THIS PLACE WILL PROBABLY BE BUZZING WITH LIFE AGAIN WITH THE ADDITION OF ITS NEW SPOT ‘AURUM GALLERY’
OPENING TO THE NEW POSSIBILITIES
TEXT: PAPHOP KERDSUP
PHOTO: WASAWAT DECHAPIROM EXCEPT AS NOTED
“ช่องเปิด” ทางสถาปัตยกรรมในแต่ละยุคสมัยบอกอะไรกับเรา?
นอกเหนือไปจากการแสดงให้เห็นถึงพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงไป “ช่องเปิด” — ซึ่งในที่นี้นับรวมทั้งประตู หน้าต่าง การเจาะช่องลงบนระนาบทางตั้งและทางนอนในงานสถาปัตยกรรม หรือกระทั่งการกรอบภาพด้วยองค์ประกอบอย่างผนัง — ยังเป็นเครื่องสะท้อนความสัมพันธ์ที่มนุษย์เรามีต่อบริบทแวดล้อมอย่างสภาพภูมิอากาศ พฤติกรรมการใช้สเปซ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งแสงธรรมชาติ…
เดิมการเลือกใช้โครงสร้างประเภทผนังรับน้ำหนัก (wall-bearing) ในงานสถาปัตยกรรมไทยเป็นข้อจำกัดหนึ่งที่ทำให้การเจาะช่องเปิดนั้นมีขนาดที่ไม่ใหญ่นัก เช่น ผนังของอุโบสถ หรืออาคารพาณิชย์ยุคแรก ซึ่งทำให้ความรู้สึกที่มนุษย์มีต่อแสงสว่างและความมืดในอดีตนั้นแตกต่างไปจากปัจจุบัน เผลอๆ เราเองอาจจะเคยคุ้นเคยกับความงามในเงาสลัวที่สัมผัสต่างๆ นั้นคลุมเครือมากกว่าการเห็นทุกอย่างชัดแจ้งอยู่ตรงหน้าเสียด้วยซ้ำ
เมื่อเทคโนโลยีการก่อสร้างสมัยใหม่เข้ามามีบทบาทยิ่งขึ้นในช่วงครึ่งหลังศตวรรษที่ 20 จนเอื้อให้ผู้คนสามารถเปิดรับเอาแสงสว่างเข้ามาอยู่ร่วมกับการใช้ชีวิตได้มากขึ้นผ่านการใช้กระจกบานใหญ่และกรอบประตูหน้าต่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลิตภัณฑ์บานกรอบอะลูมิเนียมที่ได้มาตรฐานของ TOSTEM ประสบการณ์ที่คนไทยมีต่อแสงสว่างก็พลันเปลี่ยนตาม ไม่ว่าแสงนั้นจะเป็นแสงธรรมชาติในช่วงกลางวัน หรือแสงจากหลอดไฟในช่วงค่ำคืน เราเริ่มได้กลับมาชื่นชมความสุนทรีย์ของแสงมากกว่าเคยอีกครั้ง
เมื่อสถาปัตยกรรมเดินทางมาถึง ณ ขณะปัจจุบัน ประสบการณ์ที่เรามีต่อสเปซเริ่มหลากหลาย ความคุ้นชินที่เกิดขึ้นจาก “ช่องเปิด” ที่เปลี่ยนไปตามแต่ละยุคสมัยทำให้เราเริ่มมองเห็นภาพรอบตัวในมุมมองที่แตกต่าง ภาพที่ถูกกรอบขึ้นเมื่อมองออกไปยังนอกหน้าต่าง ก็มีความน่าสนใจไม่แพ้การเดินลัดเลาะไปรอบกรุงเทพฯ แล้วบังเอิญมองไปเห็นภาพปลายตาเป็นสถาปัตยกรรมสักแห่งที่ถูกกรอบไว้ด้วยผนังริมทาง
THE WAT PHRA KAEW’S GUIDEBOOK
THE WAT PHRA KAEW’S GUIDEBOOK IS A GUIDEBOOK AND PHOTOBOOK BY ARTYT “SUN” LERDRAKMONGKOL. FOR A YEAR AND A HALF AND WITH MORE THAN 100 ROLLS OF FILM, HE METICULOUSLY CAPTURED, AMONG OTHERS, THE HEAT AND CHAOS FOR THIS SPECIAL BOOK
Read More
BUBBLING WITH JOY
TETSUO KONDO INTERPRETED A BASIC QUESTION – HOW ARCHITECTURE CAN CONNECT TO PEOPLE? – INTO A STRUCTURE THAT MERGES THE ORGANIZATIONS OF ATMOSPHERE AND PEOPLE TOGETHER
Read More
LETTERS: MARIKO TERADA
BACK IN 1995, THE EDITORIAL TEAM OF JAPAN’S ARCHITECTURE MAGAZINE, SD (SPACE DESIGN) CAME TO VISIT THAILAND IN HOPE OF FINDING ANOTHER MORE CONTEMPORARY NOTION OF ‘THAI STYLE’ THAT WAS BEYOND THE IMAGES OF THAINESS THE FOREIGNERS ONCE PERCEIVED FROM WILLAIM WARREN’S ‘THAI STYLE’ PUBLISHED IN 1990. LET’S FIND OUT WHAT MARIKO TERADA, AN ASSOCIATE EDITOR OF SD, CAME ACROSS 24 YEARS AGO AND HOW IT CAN REFLECT UPON THE THAI STYLE WE ALL HAVE AT PRESENT