นอกจาก façade ของอาคารที่เป็นเสาไม้ขนาดใหญ่จะมีความโดดเด่นแล้ว Good Cycle Building จาก Asanuma Corporation และ Nori Architects ยังน่าสนใจจากการถ่ายทอดแนวคิดที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่กระบวนการก่อสร้างที่เน้นใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า รวมไปถึงการหยิบองค์ประกอบที่น่าสนใจอย่างดินเก่า ให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของอาคาร
ป้ายกำกับ: Japan
WEATHER HOUSE
n o t architects studio สตูดิโอออกแบบสถาปัตยกรรมจากญี่ปุ่น ห่อหุ้มโดยรอบบ้านด้วยบันไดหลักและผืนตะแกรงเหล็ก ที่สร้างขอบเขตอันบางเบาระหว่างภายในและภายนอก
NISSIN KANSAI FACTORY
Kashiwa Sato อาร์ตไดเรกเตอร์ชาวญี่ปุ่น ผู้อยู่เบื้องหลังงานออกแบบภายในและ creative direction ของส่วนเยี่ยมชมโรงงานนิชชิน ต้อนรับผู้เข้าชมโรงงานด้วย canopy ทางเข้าที่มีรูปร่างเหมือนฝาบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปขนาดใหญ่
CERARL BY AICA
แนะนำ CERARL (เซรอร์ล) วัสดุตกแต่งผนังสำเร็จรูปจาก AICA Laminate ผู้นำด้านวัสดุปิดผิว (แผ่นลามิเนต) จากประเทศญี่ปุ่น ที่สามารถตอบโจทย์ตอบโจทย์ทั้งการใช้งาน ดีไซน์ และทลายข้อจำกัดเดิมๆ ของวัสดุตกแต่งผนัง
THE HARUKI MURAKAMI LIBRARY
DESIGNED BY KENGO KUMA AND NAMED AFTER HARUKI MURAKAMI, THE NEWLY OPENED LIBRARY AT THE FACULTY OF LETTERS, ARTS, AND SCIENCES, WASEDA UNIVERSITY LEADS THE READERS INTO ANOTHER SPHERE, AKIN TO READING MURAKAMI’S HYPNOTIC NOVEL WHERE ONE JOURNEY INTO ANOTHER WORLD
PAVILION TOKYO 2021
COMPLIMENTING THE TOKYO OLYMPICS 2020, PAVILION TOKYO 2021 IS THE PUBLIC INSTALLATION ARTS AND EXHIBITIONS PROGRAM INITIATED BY THE CITY OF TOKYO TO BE THE INSPIRATION AND THE MOTIVATION FOR THE PEOPLE TO CARRY ON AMID THE EPIDEMIC ERA.
THE TOKYO TOILET
PEEK THROUGH THE FASCINATING TOILET DESIGN FROM THE PROJECT INITIATED BY THE NIPPON FOUNDATION, SHIBUYA TOURISM ASSOCIATION, AND SHIBUYA CITY GOVERNMENT THAT INVITES RENOWNED DESIGNERS AND ARCHITECTS FROM 17 STUDIOS TO DESIGN 17 TOILETS AROUND SHIBUYA
KIDSLABO MINAMI-NAGAREYAMA NURSERY
TEAMLAB ARCHITECTS AIMS TO PREPARE CHILDREN FOR THE FUTURE WORLD IN THEIR LATEST KINDERGARTEN DESIGN Read More
PHOTO ESSAY : AKITA GEOMETRY
TEXT & PHOTO: NATHANICH CHAIDEE
(For English, press here)
การเดินทางไปเยี่ยมเพื่อนตั้งแต่สมัยประถม (อโณทัย อูปคำ – คิวเรเตอร์) ซึ่งย้ายถิ่นฐานมาพำนักชั่วคราวที่จังหวัดอะกิตะ ประเทศญี่ปุ่น นำมาสู่ประสบการณ์ใหม่ของการท่องเที่ยวที่เหมือนมีเพียงเราสองคนที่กำลังเดินท่องเที่ยวอยู่ ณ สถานที่เหล่านั้น
ต้นเดือนมีนาคมปีที่แล้ว (2019) เราเดินทางจากกลางเมืองไปยังออนเซ็นน้ำนมที่ขึ้นชื่อของอะกิตะ ปกติจะมีรถบัสตรงจากสถานีไปถึงปลายทางเลย แต่ด้วยเหตุผลบางอย่าง รถบัสคันนั้นที่เราขึ้นไปนั่งจำเป็นต้องแวะเปลี่ยนรถที่ทะเลสาบทะซะวะ จริงอยู่ว่าเพื่อนเราเคยไปออนเซ็นนี้แล้วสองสามครั้ง แต่นี่เป็นครั้งแรกที่เธอได้แวะระหว่างทาง
ที่นั่นมีเพียงเราสองคนกับคู่หนุ่มสาวคู่หนึ่งที่ลงป้ายแห่งนี้ แม้จะเป็นทะเลสาบขึ้นชื่อของจังหวัดแต่จุดที่เราลงไม่ได้เป็นแลนด์มาร์คในแผนที่ท่องเที่ยวแต่อย่างใด ความตื่นเต้นของสถานที่ที่บังเอิญได้ไป เทือกเขาที่ทอดยาว น้ำทะเลสาบใสแจ๋ว หิมะที่ฉาบพื้นผิวบางๆ และบทสนทนาของคนที่ไม่ได้เจอกันนานยังคงตรึงในใจของเราสองคนจนถึงทุกวันนี้
หลังจากกลับมามองภาพรวมของรูปทั้งหมด เราสังเกตเห็นความสัมพันธ์ของรูปทรงเรขาคณิตหลากหลายขนาด ร้อยเรียงอยู่อย่างสงบนิ่ง
_____________
ณัฐนิช ชัยดี เกิดที่จังหวัดเชียงใหม่ ก่อนย้ายเข้ามาสู่กรุงเทพฯ เพื่อศึกษาต่อในคณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วเบนสายเข้าสู่ความสนใจทางด้านดีไซน์เต็มตัว ด้วยการศึกษาต่อปริญญาตรีอีกใบ ที่ภาควิชาการออกแบบตกแต่งภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปัจจุบันเป็นนักเขียนอิสระด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบ โดยมีการถ่ายภาพด้วยฟิล์มเป็นงานอดิเรกที่ยังคงทำต่อเนื่องตั้งแต่เรียนมัธยมต้นจนถึงทุกวันนี้